ประวัติหมู่บ้านและเมืองกุสุมาลย์มณฑล
ประวัติบ้านบอน
หมู่ที่ 3 ตำบลนาโพธิ์
อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
ประสงค์ เนืองทอง ศ.ศบ. : เรียบเรียง
ประวัติความเป็นมาของบ้านบอน หมู่ที่ 3
บ้านบอน ตั้งอยู่ตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร เป็นหมู่บ้านที่เก่าแก่กว่า
200 ปี มีหลายเผ่าที่มาตั้งรกรากที่บ้านบอน เช่น เผ่าไท้โส้ เผ่าลาว เผ่าภูไท เผ่ากระเริง
เป็นที่ราบลุ่มอุดมไปด้วยข้าวปลาอาหาร ส่วนที่เป็นป่าอุดมไปด้วยพันธ์ไม้นานาพันธุ์และเป็นที่ทำมาหากินของประชาชนในหมู่บ้าน
ที่ตั้ง พร้อมแผนที่สังเขป
บ้านบอนหมู่ที่ 3 ตำบลนาโพธิ์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกนคร ห่างจากอำเภอกุสุมาลย์ ไปทางทิศตะวันตก ประมาณ 8 กิโลเมตร
อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดกับ บ้านขาไก่ หมู่ 6
ทิศใต้ ติดกับ บ้านม่วง หมู่ 10
ทิศตะวันออก ติดกับ บ้านเมืองเก่า หมู่ 8
ทิศตะวันตก ติดกับ บ้านนาเพียง ตำบลนาเพียง
อาชีพ
ชาวบ้านบอนประกอบอาชีพหลักทำนา เกือบทุกหลังคาเรือน รับจ้างทั่วไปเป็นอาชีพเสริม
หน้าแล้งบางส่วน จะปลูกมะเขือเทศ และปลูกยาสูบ เป็นต้น
ศาสนา
ชาวบ้านบอนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ มีวัดประจำหมู่บ้าน
คือ วัดโพธิ์ชัยบ้านบอน ซึ่งเป็นส่วนศูนย์ร่วมจิตใจของชาวบ้านบอน หมู่3
ลักษณะทั่วไป
- เนื้อที่ 2, 880 ไร่ใช้ทำเกษตร 2, 560 ไร่
- จำนวนครัวเรือน 160 ครัวเรือน
- จำนวนประชากรทั้งหมด 735 คน(ชาย 365 คน หญิง 370 คน)
ลักษณะภูมิประเทศ
บ้านบอน ส่วนมากเป็นที่ราบพื้นที่ส่วนใหญ่เหมาะแก่การทำนาและเลี้ยงสัตว์
โดยทั่วไปจะมี 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดูหนวา ในฤดูร้อนอากาศจะร้อนมาก ฤดูฝนจะมีฝนตกพอประมาณและฤดูร้อนอากาศจะร้อนมาก
สภาพทางเศรษฐกิจ
- รายได้เฉลี่ย20, 130 บาท/ปี/คน
- ครัวเรือนมีการออมร้อยละ 35% ของครัวเรือนทั้งหมด
- ชาวบ้านบอนเกือบทุกหลังคาเรือนมีอาชีพทำนา ซึ่งเป็นอาชีพหลัก หลังจากเสร็จสิ้นจากการทำนาแล้ว
บางส่วนก็หาอาชีพเสริม คือ ปลุกมะเขือเทศ และยาสูบหรือไม่รับจ้างทั่วไป
- ผลผลิตที่จำหน่ายสู่ตลาดภายในและภายนอกชุมชนได้แก่ ยาสูบ มะเขือเทศ เป็นต้น
- มีไฟฟ้าใช้ทุกครัวเรือนและมีเส้นทางคมนมคมในการขนส่งตลอดปี
สภาพสังคม
- สภาพบ้านเรือนบ้านขาไก่มีความมั่นคงถาวร มีการจัดบ้านเรือนเป็นระเรียบและถูกสุขลักษณะครอบครัวมีความอบอุ่น
- ประชาชนส่วนใหญ่มีสุขภาพดี คนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้มีการตรวจสุขภาพเป็นประจำปีละ 2 ครั้ง
- เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาภาคบังคับทุกคน ประชาชนที่มีอายุ 15-60 ปีอ่านออกเขียนได้เป็นส่วนใหญ่
- บ้านม่วงได้รับการดูแลเบี้ยยังชีพ สำหรับผู้สูงอายุและคนพิการเป็นอย่างดีในหมู่บ้านบอนส่วนใหญ่เป็นสมาชิกใหม่ที่ตั้งขึ้นและ
ในหมู่บ้านและมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเพณี/เทศกาลประจำปี/วัฒนธรรม
ประมาณเดือนธันวาคม-มกราคม จะมีพิธีทำบุญกองข้าวหรือ
ประทายข้าวเปลือกเพื่อหารายได้ ไปบูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามศาสนาและ
ในหน้าแล้งของทุกปีจะมีการจัดทำบุญประจำปีขึ้นเพื่อรักษา
ขนบธรรมเนียนประเพณีอันดีงาม
ผลิตภัณฑ์ของชุมชน
ชาวบ้านมีกลุ่มทอผ้า เพื่อเป็นผลิตภัณฑ์ของชุมชนซึ่งเข้ากลุ่มบ้านบอน
เพื่อเป็นรายได้เสริมหลังจากว่างเว้นจากการทำนา
กาท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์/หรือสถานที่ท่องเที่ยวในหมู่บ้าน/ชุมชน สถานที่พักในชุมชน
คือศาลาวัดโพธิ์ชัย ญาติพี่น้องบ้านใกล้ พวกที่มาค้าขายก็ได้มาอาศัยพักที่นี้
ข้อมูลด้านอาชีพและการมีงานทำในชุมชน
อาชีพทำนา 131 ครอบครัว ทำสวน 10 ครอบครัว อาชีพรับจ้าง 20 ครอบครัว อาชีพค้าขาย 10 ครอบครัว
อาชีพเลี้ยงสัตว์ 30 ครอบครัว อาชีพรับราชการ - คน/ - ครัวเรือน ประกอบอาชีพอย่างเดียว 61 ครัวเรือน ประกอบอาชีพหลายอย่าง. - ครอบครัว
อาชีพอื่นของสมาชิกในชุมชน ได้แก่ทำไร่ยาสูบ ไร่มะเขือเทศ
คนว่างงานในชุมชน จำนวน 10 คน 4 ครัวเรือน
แหล่งน้ำเพื่อการอุปโภค และบริโภคในหมู่บ้าน
ฝาย 2 แห่ง บ่อน้ำตื้น 2 แห่ง บ่อโยก 12 แห่ง
สาธารณูปการในหมู่บ้าน
ไฟฟ้าสาธารณะ 15 จุด โทรศัพท์สาธารณะ 1 จุด
สังคม ประเพณี วัฒนธรรมท้องถิ่น
ฮีต 12 ครอง 14 ที่ยังปฏิบัติอยู่อย่างต่อเนื่องในชุมชน, การเหยาผีมูล ผีน้ำ
ข้อมูลด้านสภาพสิ่งแวดล้อม
บ้านบอนมีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบ เนื้อดินเป็นลูกรัง ไม่อุ้มน้ำทำให้ข่ดแคลนน้ำในฤดูแล้ง
9. ข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวของชุมชน . - ไม่มี
10. ข้อมูลร้านค้า และสถานบริการในชุมชน – ร้านค้าขายของเบ็ดเตล็ด 5 แห่ง
- ร้านเสริมสวย 1 แห่ง , - ร้านซ่อมรถ 2 แห่ง , โรงสี 2 แห่ง
11. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจชุมชน
ทรัพยากร / สัตว์เลี้ยง และผลผลิต
ในชุมชน |
หน่วยนับ |
จำนวน |
หมายเหตุ |
หนองน้ำสาธารณะ |
หนอง |
1 |
ฐานข้อมูลจาก กชช .2 ค |
พื้นที่ทำนา |
ไร่ |
1,200 ไร่ |
|
พื้นที่ทำสวน |
ไร่ |
200 ไร่ |
|
พื้นที่ทำไร่ |
ไร่ |
150 ไร่ |
|
ป่าชุมชน |
ไร่ |
- |
|
กก |
ไร่ |
- |
|
วัว |
ตัว |
150 |
|
เป็ด |
ตัว |
50 |
|
ไก่ |
ตัว |
100 |
|
ฯลฯ |
|
|
|
รายได้ของครัวเรือนในหมู่บ้านจากการประกอบอาชีพ
หมู่ที่ 3 บ้านบอน ตำบลกุสุมาลย์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
ที่มาของรายได้ครอบครัวจากการประกอบอาชีพ ต่อครัวเรือน / ปี |
จำนวนรายได้ ( บาท) |
ปัญหาที่สำคัญในการประกอบอาชีพของประชาชนในหมู่บ้าน |
1. ขายผลผลิตพืชสวน
2. ขายผลผลิตพืชนา
3. ขายผลผลิตพืชไร่
4. ขายผลผลิตสัตว์เลี้ยง
5. การรับจ้าง
6. จากลูกส่งมาให้
7. จากค้าขาย |
30,000
50,000
20,000
20,000
20,000
30,000
20,000 |
ขาดแคลนน้ำในการทำนา ทำไร่
ปุ๋ยราคาแพง
|
รายจ่ายของหมู่บ้าน
หมู่ที่ 3 บ้านบอน ตำบลกุสุมาลย์ อำเภอกุสุมาลย์ จังหวัดสกลนคร
ประเภทการใช้จ่าย |
( บาท) ต่อเดือน |
( บาท) ต่อปี |
1. ค่าอาหาร
- ผัก, เนื้อสัตว์, เนื้อปลา ฯลฯ
|
253,800 |
2,829,000 |
2. อาหารสำเร็จรูป
- บะหมี่
- ปลากระป๋อง |
7,000
8,600 |
943,200 |
3. เครื่องดื่ม/ ขนม
- ขนมขบเคี้ยว , น้ำอัดลม |
117,900 |
1,414,800 |
4. ยารักษาโรค
- ยาสามัญประจำบ้าน |
?655 |
7,860 |
5. ค่าของใช้ต่างๆ
- ของใช้อุปโภค
|
26,200 |
314,400 |
6. ค่าใช้จ่ายในการศึกษา
- อุปกรณ์การเรียน, ค่าเทอม, ค่ารถ, ค่าอาหาร ฯลฯ
|
117,900 |
1,414,800 |
7. ค่าใช้จ่ายในการผลิต
- ค่าแรง, น้ำมัน , ปุ๋ย
- |
85,150 |
1,021,800 |
8. ค่าผ่อนหนี้สิน
- ผ่อนรถ , ธกส,
- กทบ |
50,000
50,000 |
600,000
1,000,000 |
9. ค่าใช้จ่ายทางสังคม
- งานพิธีการต่างๆ
|
6,550 |
78,600 |
รวม |
718,755 |
9,625,060 |
รายได้รวมและเฉลี่ยต่อครัวเรือน / ต่อคนต่อปีในหมู่บ้าน
รายได้จากการประกอบอาชีพของประชากร |
จำนวนรายได้เฉลี่ย ( บาท) |
1. รายได้รวมทั้งหมู่บ้าน
2. รายได้เฉลี่ยต่อ ครัวเรือน ต่อ ปี
3. รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี |
16,175,000
75,000
25,000 |
ตารางแสดงภาระหนี้สินของประชาชนในหมู่บ้าน
รายได้จากภาวะหนี้สินของประชาชนในหมู่บ้าน |
จำนวนหนี้สิน ( บาท) |
1. หนี้สินรวม
2. หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน
3. หนี้สินเฉลี่ยต่อคน
|
6,430,000
49,083.96
9,938.17 |
- หนี้สิน ธกส . รวมทั้งหมู่บ้าน
- หนี้สหกรณ์รวมทั้งหมู่บ้าน
- หนี้กลุ่มในหมู่บ้านทั้งหมด
- หนี้นายทุนทั้งหมด
- หนี้อื่นๆทั้งหมด
|
3,930,000
250,000
|
ข้อมูลด้านการเมืองการปกครอง
กำนันชื่อ นายบริสุทธิ์ ผาละพัง
( เมื่อ 12 มิถุนายน 2557 )
จำนวนคุ้มมี 2 คุ้ม ดังนี้
- ชื่อคุ้มประชาสุขสันต์ ชื่อหัวหน้าคุ้ม นายบริสุทธิ์ ผาละพัง
- ชื่อคุ้มชุมชนพัฒนา ชื่อหัวหน้าคุ้ม นายสุภาพ วัดแผ่นลำ
อปพร . จำนวน 15 คน ได้แก่
1. นายบริสุทธิ์ ผาละพัง
2. นายทรงพล แสนปากดี
3. นายเฉลิม แผนเมือง
4. นายประเทือง ฤทธิฤาวงษ์
5. นายเลื่อน ฤทธิฤาวงษ์
6. นายสมศักดิ์ วัดแผ่นลำ
7. นายสมพงษ์ อิ่มบุญสุ
8. นายมีชัย ขวาธิจักร
9. นายเทวา ฮาดนารี
10. นายสุวิชา เสนาไชย
11. นายอยู่ละไว ปีทาลาด
12. นายดวนศักดิ์ พรมหากุล
13. นายบุญเพียง จันทะแสน
14. นายสิทธิโชค หินมพรหม
15. นายพลมณี ฤทธิวงศ์จักร
กตส . จำนวน 30 คน
กลุ่มองค์กรชุมชน / ปราชญ์ชาวบ้าน
1) คณะกรรมการพัฒนาสตรีหมู่บ้าน จำนวน - . คน ไดแก่
2.) คณะกรรมการเยาวชนหมู่บ้าน จำนวน 5 คน ได้แก่
นายวิทยา ฤทธิฤาวงค์ ตำแหน่ง ประธาน
3) คณะกรรมการกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต จำนวน 7 คน
นายบริสุทธื ผาละพัง ตำแหน่ง ประธาน
กิจกรรมและผลงานของกลุ่มฯในชุมชน มีดังนี้
ชื่อกลุ่ม |
ลักษณะ
กิจกรรมเด่น |
จำนวนสมาชิก
( คน) |
จำนวนเงินกองทุน
( บาท) |
หมายเหตุ |
กพสม . |
- |
- |
- |
- |
เยาวชน |
กีฬา |
30 |
- |
- |
ออมทรัพย์ฯ |
รับฝาก / ให้กู้เงิน |
91 |
60,000 |
|
ฯลฯ |
|
|
|
|
ข้อมูล ผู้รู้ / ปราชญ์ / แกนนำสำคัญของชุมชน
ชื่อ - สกุล |
บ้านเลขที่ |
ความรู้ / ความสามารถโดดเด่น |
1. นายพรมมา ไชยนามวัน
2. นายหนูพร มุงวงษา
3. นายพรมมา จันทะแสน
4. นายพรมมา แสนเพียง
|
47
38/1
29
36 |
ความรู้ทางพิธีกรรม ศาสนา
ความรู้ทางพิธีกรรม ศาสนา
ความรู้ทางศาสนา และ สมุนไพร
ความรู้เกียวกับจารีตประเพณี |
การเดินทางไปหมู่บ้าน
ใช้ทางหลวงสกนคร-นครพนม แยกบ้านนาโพธิ์ถึงบ้านม่วงแล้วก็ถึงบ้านบอน
การติดต่อ บ้านบอน ต.นาโพธิ์ อ.กุสุมาลย์ จ.สกลนคร อื่นๆ
สถานที่ตั้งของ - สถานีอนามัย ประจำตำบลนาโพธิ์
อาคารที่ทำการ องค์การบริหารส่วนตำบลนาโพธิ์
ผู้ใหญ่บ้าน นายบริสุทธิ์ ผาละพัง
นายวาสนา จันทะแสน ส.อบต.นาโพธิ์